คราวที่แล้วเราได้คุยกันถึงเรื่องของ อาการปวดหู เมื่อเครื่องบินลดระดับเพดานบินทำให้เราทราบถึงสาเหตุของการเกิดอาการปวดหูไปแล้วว่าเกิดจากความผิดปกติของท่อยูสเตเชี่ยนไม่สามารถเปิดทำให้เราปรับความดันของหูชั้นกลางไม่ได้
ผู้ป่วยบางท่านอาจเคยสงสัยว่า มีอาการทางจมูก แต่พอมาตรวจแล้วกลับได้ยาที่ใช้เกี่ยวกับตากลับไปแทน ตกลงเป็นโรคอะไรกันแน่ และยาเหล่านี้ใช้กับอวัยวะอื่นได้หรือไม่
เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งที่ลิ้น ขั้นตอนต่อไปก็คือการวางแผนการรักษาโดยทั่วไป แผนการรักษามะเร็ง ประกอบไปด้วยการผ่าตัด การให้รังสีรักษา การให้เคมีบำบัด โดยอาจเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งหรือใช้หลายๆ วิธีร่วมกันไป
ปกติแล้วการตรวจกล่องเสียงนั้น โดยทั่วไปจะใช้กระจกเล็กๆ ส่องเข้าทางช่องปาก แล้วดูด้วยตาของแพทย์ หรืออาจใช้กล้อง (มีทั้งแบบแข็ง Rigid และแบบอ่อน Flexible) ส่องก็ได้ ซึ่งการดูด้วยตาเปล่านั้นมีข้อจำกัด เช่น สิ่งผิดปกติเล็กๆ ที่กล่องเสียงนั้นอาจมองไม่เห็น
การคลำพบก้อนที่คอ เป็นอาการที่พบบ่อยอาการหนึ่งของบริเวณศีรษะ และลำคอ ก้อนเหล่านี้ อาจมีสาเหตุมาจาก · ก้อนที่เกิดขึ้นโดยกำเนิด · ก้อนที่เกิดจากการติดเชื้อ อ · ก้อนที่เกิดจากการเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้าย · ก้อนที่เกิดจากการเป็นเนื้องอกชนิดร้าย
โคนลิ้น เป็น ส่วนประกอบส่วนหนึ่งของลิ้น โดยที่โคนลิ้นนั้นกินอาณาบริเวณ 1 ใน 3 ด้านหลังของลิ้น เมื่อเราอ้าปากขึ้นส่องกระจก จะพบว่าสองข้างของโคนลิ้นจะประกอบไปด้วย ฟันกรามล่าง (ซี่ในสุด) และต่อมทอนซิล
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารได้เองตามปกติ เช่นเจ็บคอมากเวลากลืนอาหาร คออักเสบรุนแรง มีแผลร้อนในหลายๆ แผลเจ็บจนรับประทานอาหารไม่ได้ แพทย์มักจะให้น้ำเกลือทดแทนโดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำแต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้
เป็นการรักษาไซนัสอักเสบเรื้อรัง โดยการใช้บอลลูนเพื่อไปขยายรูเปิดของโพรงอากาศไซนัส (คล้ายๆกับการใช้บอลลูนเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจ)เพื่อทำให้เกิดการระบายสารคัดหลั่ง หรือน้ำมูก น้ำหนอง จากโพรงอากาศไซนัสทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคไซนัสอักเสบเรื้อรังได้
โรคหูชั้นนอกอักเสบติดเชื้อ โรคหูน้ำหนวกมีหนองในหูชั้นกลาง โรคฝีที่ใบหูนั้นต่างก็เป็นโรคที่ควรได้รับการตรวจและควรได้รับการรักษาโดยการรักษาพยาบาลนั้นมักต้องมียาปฏิชีวนะร่วมด้วยผู้ป่วยมักถามกลับมาว่าเชื้อโรคในหูข้างที่เป็นนั้นสามารถทะลุผ่านไปยังหูอีกข้าง
หลังจากที่ได้รับการตรวจเพิ่มเติม ด้วยการใช้เข็มเจาะเข้าไปที่ก้อน และดูดเซลไปตรวจแล้ว แพทย์ก็จะนัดผู้ป่วยมาฟังผลการตรวจ ซึ่งผลที่ได้ อาจเป็นดังต่อไปนี้ · พบเซลเนื้อร้าย · พบเซลที่สงสัยว่าอาจเป็นเนื้องอก · เจาะได้น้ำ และไม่พบเซลผิดปกติ
© 2015 Bangkokhealth Research Center. All rights reserved.